บทที่6 บทบาทของระบบสารสนเทศในองค์กร
บทที่6
บทบาทของระบบสารสนเทศในองค์กร
ระดับของผู้ใช้ระบบสารสนเทศ โดยทั่วไปจำแนกออกเป็น
2) ผู้บริหารระดับปฏิบัติการ
3) ผู้บริหารระดับกลาง
4) ผู้บริหารระดับสูง
1. ระบบสารสนเทศจำแนกตามประเภทของธุรกิจ โดยทั่วไป จะเป็นระบบสารสนเทศขนาดใหญ่ที่ประกอบด้วยระบบสารสนเทศที่จำแนกตามหน้าที่ย่อยๆหลายระบบตัวอย่างเช่น ระบบสารสนเทศงานบริหารโรงแรม ประกอบด้วยระบบสารสนเทศย่อย ได้แก่ ระบบสำรองห้องพัก ระบบบัญชี ระบบจัดการห้องพัก และระบบบริหารงานบุคคล
3. ระบบสารสนเทศจำแนกตามลักษณะการดำเนินงาน ผู้บริหารในองค์การระดับที่แตกต่างกัน มีความต้องการในการใช้ระบบสารสนเทศที่แตกต่างกัน ดังนั้นระบบสารสนเทศจึงได้ถูกออกแบบให้มีความสอดคล้องกับลักษณะงานและระดับของผู้ใช้งานเพื่อให้สอดคล้องกับการนำสารสนเทศไปใช้ประกอบการบริหารและตัดสินใจ
1. ระบบสารสนเทศประมวลผลธุรกรรม (Transaction Processing Systems: TPS) เป็นระบบที่มีการประมวลผลที่รวดเร็ว ลดค่าใช้จ่าย และ ทำหน้าที่รวบรวม บันทึกข้อมูลในแฟ้มข้อมูล หรือฐานข้อมูล และประมวลผลข้อมูลที่เกิดจากการทำธุรกรรมและการปฏิบัติงานประจำ ขององค์การเพื่อนำไปจัดทำระบบสารสนเทศที่เกี่ยวข้องกับข้อมูลนั้นๆ การประมวลผลข้อมูลของ TPS แบ่งเป็น 2 ประเภท คือ 1) การประมวลผลแบบกลุ่ม 2) การประมวลผลแบบทันที
3. ระบบสนับสนุนการตัดสินใจ (Decision Support Systems : DSS) เป็นระบบสารสนเทศที่นำข้อมูลจากฐานข้อมูลต่างๆ มาใช้ในการตัดสินใจ โดยปกติแล้ว TPS และ MIS จะจัดทำรายงานสำหรับควบคุมและกำกับดูแลการปฏิบัติงานทั่วๆไป เพื่อให้องค์การดำเนินงานได้อย่างถูกต้อง
4. ระบบสารสนเทศสำหรับผู้บริหารระดับสูง (Executive Information Systems :EIS หรือ Executive Support Systems : ESS) เป็นระบบสารสนเทศที่ช่วยสนับสนุนการวิเคราะห์ปัญหา ศึกษาแนวโน้ม และการวาวงแผนกลยุทธ์ ผู้บริหารสามารถเข้าถึงสารสนเทศโดยกำหนดมุมมองได้ในรูปแบบต่างๆ จึงเป็นระบบที่มีความยืดหยุ่นและคล่องตัวสูง
5. ปัญญาประดิษฐ์ (Artificial Intelligence : AI) และระบบผู้เชี่ยวชาญ (Expert Systems : ES) เป็นความพยายามที่จะพัฒนาระบบคอมพิวเตอร์ ให้สามารถปฏิบัติงานเหมือนกับมนุษย์หรือเลียนแบบการทำงานของมนุษย์ AI มีหลายสาขา เช่น การประมวลผลภาษาธรรมชาติ ศาสตร์ด้านหุ่นยนต์ ระบบการมองเห็น ระบบการเรียนรู้ เครือข่ายเส้นประสาท และระบบผู้เชี่ยวชาญ
6. ระบบสารสนเทศสำนักงาน (Office Information Systems : OIS) หรือ ระบบสำนักงานอัตโนมัติ (Office Automation Systems : OAS) เป็นระบบสารสนเทศที่นำเทคโนโลยีมาประยุกต์ใช้เพื่อช่วยเพิ่มประสิทธิภาพในการทำงานของผู้ปฏิบัติงานและผู้บริหาร ซึ่ง OIS สามารถนำมาช่วยงานในหลายๆ กิจกรรม เช่น การจัดทำเอกสาร รายงาน จดหมายธุรกิจ การส่งข้อความ การบันทึกตารางนัดหมาย และการค้นหาข้อมูลจากเว็บเพจ
ระบบสารสนเทศเพื่อการจัดการ (Management Information systems (MIS))
Planning เมื่อมีการกำ หนดวัตถุประสงค์ที่ชัดเจน จะกำ หนดแผนการดำ เนินงาน โดยการวางแผนแนวทางที่ดีที่สุดเพื่อให้บรรลุวัตถุประสงค์นั้น
Organizing เป็นการกำ หนดขั้นตอนและการดำ เนินงานตามแผนที่วางไว้เลือกบุคคลให้เหมาะสมกับงาน กำ หนดสายงาน ความรับผิดชอบ
Controlling เป็นการควบคุมการดำ เนินงาน โดยมีการกำ หนดมาตราฐานของงาน และควบคุมงานให้เป็นไปตามาตราฐานลักษณะของการทำ งานต้องอาศัยการตัดสินใจ เป็นส่วนสำคัญ
คุณสมบัติของ DSS
-ช่วยให้ผู้บริหารในขั้นตอนการตัดสินใจ
-การออกแบบเป็นทั้งแบบโครงสร้างและกึ่งโครงสร้าง
-สามารถสนับสนุนการตัดสินใจของผู้บริหารได้ทุกระดับ เน้นที่ผู้บริหารระดับวางแผนบริหารและวางแผน กลยุทธ์
-การใช้งานเอนกประสงค์ มีการจำ ลองแบบ เครื่องมือวิเคราะห์ ช่วยเหลือผู้ตัดสินใจ
-ต้องเป็นระบบที่โต้ตอบกับผู้ใช้ได้ สามารถใช้งานง่าย
-สามารถปรับเข้ากับสถานการณ์ในสภาพแวดล้อมต่างๆได้
-มีกลไกที่ทำ ให้ผู้ใช้สามารถเรียกใช้ได้อย่างรวดเร็ว
-สามารถติดต่อฐานข้อมูลสำ หรับองค์กรได้
-มีความยืดหยุ่นรองรับรูปแบบการบริหารแบบต่างๆได้
Group Decision Support systems และ Executive Information systems
เป็นระบบสนับสนุนผู้บริหารระดับสูงในการวางแผนด้านกลยุทธ์ อุปกรณ์ที่สนับสนุนการทำ งานคือ CBIS เป็นเครื่องมือที่ยืดหยุ่นได้ สำ หรับวิเคราะห์และช่วยผู้บริหารในการตัดสินใจ ในงานต่างๆ มีดังนี้
Input and Output : Inputs ประกอบด้วยรายงานสรุปของทรานเซคชั่น หรือข้อมูลภายใน สารสนเทศของระบบนี้รวมถึงข้อมูลภายในและภายนอกที่มีผลต่อองค์การ เช่นการวิจัยตลาด หรือผลกระทบจากการออกกฏระเบียบของทางราชการ ส่วน Outputs เป็นรายงานที่ยืดหยุ่น รายงานตามความต้องการ เพื่อช่วยให้ผู้บริหารทำ การตัดสินใจเกี่ยวกับปัญหาที่ไม่มีโครงสร้าง
Produces analytic models : คุณสมบัติของ DSS ที่ใช้เป็นลักษณะโมเดล Model คือ การประยุกต์ใช้คณิตศาสตร์มาจัดการระบบจริง ) โมเดลในระบบฐานข้อมูลDSS ใช้ข้อมูล TPS MIS และข้อมูลภายนอกตัวอย่าง ระบบสนับสนุนการตัดสินใจในการสั่งซื้อวัตถุดิบหรือสินค้า ในระบบสินค้าคงคลังซึ่งมีปัจจัยของสภาวะแวดล้อม เช่น -ช่วยให้ผู้บริหารในขั้นตอนการตัดสินใจ
-การออกแบบเป็นทั้งแบบโครงสร้างและกึ่งโครงสร้าง
-สามารถสนับสนุนการตัดสินใจของผู้บริหารได้ทุกระดับ เน้นที่ผู้บริหารระดับวางแผนบริหารและวางแผน กลยุทธ์
-การใช้งานเอนกประสงค์ มีการจำ ลองแบบ เครื่องมือวิเคราะห์ ช่วยเหลือผู้ตัดสินใจ
-ต้องเป็นระบบที่โต้ตอบกับผู้ใช้ได้ สามารถใช้งานง่าย
-สามารถปรับเข้ากับสถานการณ์ในสภาพแวดล้อมต่างๆได้
-มีกลไกที่ทำ ให้ผู้ใช้สามารถเรียกใช้ได้อย่างรวดเร็ว
-สามารถติดต่อฐานข้อมูลสำ หรับองค์กรได้
-มีความยืดหยุ่นรองรับรูปแบบการบริหารแบบต่างๆได้
Group Decision Support systems และ Executive Information systems
เป็นระบบสนับสนุนผู้บริหารระดับสูงในการวางแผนด้านกลยุทธ์ อุปกรณ์ที่สนับสนุนการทำ งานคือ CBIS เป็นเครื่องมือที่ยืดหยุ่นได้ สำ หรับวิเคราะห์และช่วยผู้บริหารในการตัดสินใจ ในงานต่างๆ มีดังนี้
Input and Output : Inputs ประกอบด้วยรายงานสรุปของทรานเซคชั่น หรือข้อมูลภายใน สารสนเทศของระบบนี้รวมถึงข้อมูลภายในและภายนอกที่มีผลต่อองค์การ เช่นการวิจัยตลาด หรือผลกระทบจากการออกกฏระเบียบของทางราชการ ส่วน Outputs เป็นรายงานที่ยืดหยุ่น รายงานตามความต้องการ เพื่อช่วยให้ผู้บริหารทำ การตัดสินใจเกี่ยวกับปัญหาที่ไม่มีโครงสร้าง
แนวโน้มขึ้นลงของราคาสินค้าหรือวัตถุดิบ
ค่าใช้จ่ายในการรักษาสินค้า/วัตถุดิบต่อหน่วยเวลา
ปริมาณความต้องการสินค้า/วัตถุดิบต่อหน่วยเวลา
ระยะเวลาในการสั่งซื้อสินค้าและวัตถุดิบ
ปริมาณสินค้า/วัตถุดิบ ที่มีอยู่ในคลังสินค้า
ค่าใช้จ่ายในการรักษาสินค้า/วัตถุดิบต่อหน่วยเวลา
ปริมาณความต้องการสินค้า/วัตถุดิบต่อหน่วยเวลา
ระยะเวลาในการสั่งซื้อสินค้าและวัตถุดิบ
ปริมาณสินค้า/วัตถุดิบ ที่มีอยู่ในคลังสินค้า
ข้อแตกต่างระหว่าง MIS กับ DSS
- รายงานสรุปจากทรานแซคชั่น - จัดหาข้อมูลและโมเดลเพื่อการตัดสินใจ
- การแก้ปัญหาแบบมีโครงสร้างซํ้าๆ - ทำงานแบบโต้ตอบ
- ผลิตรายงานประจำ - การแก้ปัญหาแบบกึ่งโครงสร้าง
- ใช้เครื่องมือวิเคราะห์ตัวอย่าง - ใช้การจำ ลองแบบและโมเดลวิเคราะห์
ระบบสารสนเทศผู้บริหาร (Executive Information Systems)
EIS คือ ระบบ DSS ที่ออกแบบให้ใช้เฉพาะกับผู้บริหารระดับสูง และสนับสนุนการตัดสินใจเชิงกลยุทธ์ หรือบางครั้งระบบนี้เรียกว่า ESS (Executive Support Systems )เป็นระบบที่เข้ามาช่วยให้ข้อมูลข่าวสาร ที่มีประโยชน์ต่อการดำ เนินงานขององค์การ โดยผู้บริหารจะเป็นผู้ใช้ข่าวสารเหล่านี้ การนำ เสนอข่าวสารจะเน้นการ Interface ระหว่างผู้บริหารกับระบบ ให้ใช้งานได้สะดวก มีรูปแบบต่างๆให้เลือกตามเหมาะสมกับสถานการณ์ที่จะเกิดขึ้น
การใช้งานง่ายไม่จำ เป็นต้องรู้เรื่องคอมพิวเตอร์
สรุปรายงานของสารสนเทศตามเวลาต้องการ
มีการกรองข้อมูลทำ ให้ประหยัดเวลา
การตรวจสอบสารสนเทศทำ ได้ดี
ข้อด้อย
มีข้อจำ กัดในการใช้งาน
ไม่สามารถคำ นวณซับซ้อนได้
ยากต่อการรักษาข้อมูลให้ทันสมัยอยู่เสมอ
หมายถึง ระบบที่รวบรวมความรู้ในสาขาต่างๆ ของผู้เชี่ยวเก็บไว้ในอุปกรณ์ของคอมพิวเตอร์ เพื่อจุดมุ่งหมายในการวิเคราะห์สาเหตุและผลของผู้เชี่ยวชาญ เช่นระบบวินิจฉัยโรคด้วยคอมพิวเตอร์ โดยมีการแทนข้อมูลในรูปของตรรกศาสตร์ ฐานข้อมูลของระบบคอมพิวเตอร์เราเรียกว่า ( Knowledge Base )
คุณสมบัติของผู้เชี่ยวชาญ - ช่วยในการเก็บความรู้ของผู้เชี่ยวชาญด้านใดด้านหนึ่งไว้
- ช่วยขยายขีดความสามารถของผู้เชี่ยวชาญ
- บุคคลใดบุคคลหนึ่งช่วยเพิ่มประสิทธิภาพและประสิทธิผลในการตัดสินใจ
- ช่วยในการตัดสินใจแต่ละครั้งใกล้เคียงกันไม่ขัดแย้งกัน
- ช่วยลดการพึ่งพาบุคคลใดบุคคลหนึ่ง
แหล่งที่มา
https://sites.google.com/a/thoengwit.ac.th/master_site/prapheth-khxng-rabb-sarsnthes
ความคิดเห็น
แสดงความคิดเห็น